นักวิจัยคณะวิทย์ฯ คิดค้น “ตัวตรวจวัดพอลิเมอร์ฟิล์มบางสำหรับไอออนทอง”
เมื่อพูดถึงทองคำ แน่นอนไม่ว่าใครต่อใครก็อยากได้ แต่นอกจากเป็นเครื่องประดับแล้ว ทองคำยังมีประโยชน์อีกมากมายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในด้านการสร้างนาโนแมททีเรียลและเป็นตัวแคตตาลิตส์ นอกจากนั้นยังมีการใช้ทองนาโนในด้านการขนส่งยา การใช้ในเทคโนยีตัวตรวจวัด สิ่งทอ และเครื่องสำอาง แต่หารู้ไม่ว่าการสร้างทองนาโนนั้นเริ่มจากไอออนของทอง (Au3+) ซึ่งเป็นไอออนที่มีความว่องไวสูงและเป็นพิษ หากหลงเหลือก็จะเป็นอันตราย
“พลาสติกชีวภาพครบวงจร”
https://youtu.be/Z2auFjkuSZQ
"พลาสติกชีวภาพครบวงจร" รองศาสตราจารย์ ดร.ยอดธง ใบมาก หน่วยปฏิบัติการวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ (Biodegradable Polymers Research Unit) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ชูกำแพง พร้อมคณะ
สารละลายธาตุอาหารที่ใช้ในการผลิตพืชซีลีเนียมอินทรีย์สูงโดยการปลูกแบบไฮโดรโพนิกส์ (Hydroponics)...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช ตามการประดิษฐ์นี้ มีองค์ประกอบหลักคือ ผงถั่วครก และส่วนผสมอื่น ได้แก่ โกโก้ หรือชาเขียว หรือลูกเดือย และงาดำหรืองาขี้ม่อน มีกรรมวิธีการผลิตเป็นผงละเอียดผสมกับสารให้ความหวาน...
วช.หนุน ม.มหาสารคาม ปูทางสู่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพครบวงจร
จากกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั่วโลกส่งผลให้ “พลาสติกชีวภาพ (Bio plastic)” ได้เริ่มเป็นที่กล่าวถึงและได้รับความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะสามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ประเทศไทยจึงอยู่ในสถานะที่ได้เปรียบเพราะเป็นฐานการเกษตรใหญ่ที่สุดในอาเซียน แต่สถานภาพของอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศไทยกลับอยู่ในช่วงเริ่มต้น มีผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพเพียงเล็กน้อยโดยนำเข้าเม็ดพลาสติกชีวภาพจากต่างประเทศเกือบทั้งหมด เพื่อนำมาขึ้นรูปเป็นภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ ด้วยเครื่องจักรผลิตพลาสติกธรรมดา...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาตัวทำละลายทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการสกัดแบบวัฏภาคของเหลว
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาตัวทำละลายทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการสกัดแบบวัฏภาคของเหลวรองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามการเตรียมตัวอย่าง (sample pre-treatment)...