นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช ตามการประดิษฐ์นี้ มีองค์ประกอบหลักคือ ผงถั่วครก และส่วนผสมอื่น ได้แก่ โกโก้ หรือชาเขียว หรือลูกเดือย และงาดำหรืองาขี้ม่อน มีกรรมวิธีการผลิตเป็นผงละเอียดผสมกับสารให้ความหวาน...

คุณค่าของข้าวดำพันธุ์ไทยที่ปลูกต่างฤดู

“คุณค่าของข้าวดำพันธุ์ไทยที่ปลูกต่างฤดู”สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง พฤกษเคมีเบื้องต้น และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากเมล็ดข้าวดำพันธุ์ไทยที่ปลูกต่างฤดูชื่อทุน  โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และงานสร้างสรรค์สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีงบประมาณเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564ร่วมเรียบเรียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัณฑนา นครเรียบที่อยู่ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาสารคามเบอร์โทรศัพท์ 089-4224764 E-mail [email protected]

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบสารออกฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียจากพืชสมุนไพรไทยสมัดใหญ่ (𝐶𝑙𝑎𝑢𝑠𝑒𝑛𝑎 𝑒𝑥𝑐𝑎𝑣𝑎𝑡𝑎 Burm. f.)

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบสารออกฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียจากพืชสมุนไพรไทยสมัดใหญ่ (𝐶𝑙𝑎𝑢𝑠𝑒𝑛𝑎 𝑒𝑥𝑐𝑎𝑣𝑎𝑡𝑎 Burm. f.)โรคมาลาเรีย (ไข้จับสั่นหรือไข้ป่า) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัวพลาสโมเดียม (Plasmodium) เป็นปัญหาแพร่ระบาดในประเทศเขตร้อน ที่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ การแพร่ระบาดของมาลาเรียพบได้ในแถบเอเชีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชากรโลกโดยรวม...

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ คิดค้น “ตัวตรวจวัดพอลิเมอร์ฟิล์มบางสำหรับไอออนทอง”

เมื่อพูดถึงทองคำ แน่นอนไม่ว่าใครต่อใครก็อยากได้ แต่นอกจากเป็นเครื่องประดับแล้ว ทองคำยังมีประโยชน์อีกมากมายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในด้านการสร้างนาโนแมททีเรียลและเป็นตัวแคตตาลิตส์ นอกจากนั้นยังมีการใช้ทองนาโนในด้านการขนส่งยา การใช้ในเทคโนยีตัวตรวจวัด สิ่งทอ และเครื่องสำอาง แต่หารู้ไม่ว่าการสร้างทองนาโนนั้นเริ่มจากไอออนของทอง (Au3+) ซึ่งเป็นไอออนที่มีความว่องไวสูงและเป็นพิษ หากหลงเหลือก็จะเป็นอันตราย

“พลาสติกชีวภาพครบวงจร”

https://youtu.be/Z2auFjkuSZQ "พลาสติกชีวภาพครบวงจร" รองศาสตราจารย์ ดร.ยอดธง ใบมาก หน่วยปฏิบัติการวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ (Biodegradable Polymers Research Unit) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะวิทยาศาสตร์ ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ “สบู่สมุนไพรต้านอนุมูลอิสระและต้านแบคทีเรีย”

เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ศูนย์ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิธีลงนามการอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา...